====== การใช้งาน CRI wiki สำหรับ admin ====== ===== โครงสร้างเนื้อหาของ CRI wiki ===== โครงสร้างเนื้อหาของ CRI wiki เป็นดังนี้ หน้า [[:home]] แสดง homepage ของสถาบัน \\ หน้า [[:about]] แสดงข้อมูลทั่วไปของสถาบัน \\ หน้า [[:president]] แสดงข้อมูลเกี่ยวกับองค์ประธาน \\ หน้า [[:lab]] แสดงหน้าเว็บเกี่ยวกับสำนักวิจัย และห้อง lab ต่างๆ \\ หน้า [[:academic]] แสดงหน้าเว็บเกี่ยวกับสำนักวิชาการ \\ หน้า [[:iceht]] แสดงหน้าเว็บเกี่ยวกับศูนย์พิษวิทยาฯ \\ หน้า [[:publications]] แสดงรายการ ผลงานวิจัยของสถาบัน \\ หน้า [[:announcement]] แสดงประกาศของสถาบัน \\ หน้า [[:manual]] แสดงวิธีใช้ CRI wiki \\ namespace ต่างๆ เก็บข้อมูลหน้าเว็บย่อย โดยใช้ชื่อเดียวกับหน้าเว็บด้านบน \\ และ namespace staff เก็บ homepage ของพนักงาน \\ ==== การกำหนดสิทธิ สำหรับผู้ดูแลเนื้อหา CRI wiki ==== namespace iceht ให้ [[intranet:staff:vina|คุณวีณา]], [[intranet:staff:wandee|คุณวันดี]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace lab ให้ [[intranet:staff:jaruwan|คุณจารุวรรณ]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace publications ให้ [[intranet:staff:jaruwan|คุณจารุวรรณ]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace announcement ให้ [[intranet:staff:wandee|คุณวันดี]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace about ให้ [[intranet:staff:aroonsak|คุณอรุณศักดิ์]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace academic ให้ [[intranet:staff:aroonsak|คุณอรุณศักดิ์]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace president ให้ [[intranet:staff:aroonsak|คุณอรุณศักดิ์]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace academic:libraries ให้ [[intranet:staff:ketsirin|คุณเกษศิรินทร์]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ namespace stock_photo ให้ [[intranet:staff:panjarat|คุณปัญจรัตน์]] มีสิทธิ์แก้ไขทุกอย่าง \\ ให้เฉพาะ [[intranet:staff:panjarat|คุณปัญจรัตน์]] มีสิทธิ์แก้ไข namespace stock_photo ได้ในระยะเริ่มต้นนี้ ===== การจัดการ access control ===== การจัดการ access control เป็นการจัดการการเข้าถึง หน้าเนื้อหา และหมวดเนื้อหา (Namespace) ของ CRI wiki ==== การจำกัดการเข้าถึงใน CRI wiki ==== CRI wiki ถูกออกแบบให้ user สามารถเข้าถึง หน้าเนื้อหา และ หมวดเนื้อหาดังนี้ * user ที่ไม่ได้ login สามารถอ่านหน้าเนื้อหาได้ แต่ไม่สามารถแก้ไขได้ * user ที่ login แล้ว สามารถแก้ไขหน้าเนื้อหาได้ทุกหน้า ยกเว้นหน้า [[:home]] ซึ่งเป็น homepage ของ CRI wiki * user ที่ไม่ได้ login ไม่สามารถอัพโหลด เอกสาร มาไว้ใน CRI wiki ได้ * user ที่ login แล้ว สามารถอัพโหลด เอกสาร มาไว้ใน CRI wiki ได้ ในทุกๆ namespace แต่ไม่สามารถเขียนทับ หรือลบเอกสารที่มีอยู่แล้วได้ * หน้า private และ namespace private เช่น [[staff:anurat:private]] มีไว้ให้ user นั้นๆใช้เท่านั้น user อื่นไม่สามารถอ่านหรือ แก้ไขได้ * namespace private ของ user นั้นๆ อนุญาตให้ user นั้นๆ อัพโหลดเอกสาร ได้ รวมทั้งเขียนทับ และลบเอกสารที่มีอยู่แล้วได้ด้วย * หน้า public และ namespace public เช่น [[staff:anurat:public]] มีไว้ให้ ใครก็ได้เข้ามาแก้ไข แม้แต่ user ที่ไม่ได้ login ==== การใช้งาน permission info plugin ==== ==== วิธีการแก้ไข permission ใน CRI wiki ==== การแก้ไข permission ประกอบด้วยสามส่วนคือ page, user, และ permission - page คือการเลือกหน้าเนื้อหา หรือ namespace ที่ต้องการแก้ไข เช่น :about, :lab:natural_products: - user คือการเลือก user หรือ group ที่ต้องการแก้ไข เช่น anurat, user, lab - permission คือการเลือกค่า permission ที่ต้องการแก้ไข ค่า permission มีดังนี้ * //None// กำหนดให้ user **ไม่สามารถอ่าน** page ได้ * //Read// กำหนดให้ user **สามารถอ่าน** page ได้ * //Edit// กำหนดให้ user สามารถอ่าน และ**แก้ไข** page ได้ * //Create// กำหนดให้ user สามารถอ่าน, แก้ไข และ**สร้าง page ใหม่** ใน namespace ได้ * //Upload// กำหนดให้ user สามารถอ่าน, แก้ไข และสร้าง page ใหม่ใน namespace ได้ และ**สามารถ upload เอกสาร ไปไว้ที่ namespace ได้** * //Delete// กำหนดให้ user สามารถอ่าน, แก้ไข และสร้าง page ใหม่ใน namespace ได้ และสามารถ upload เอกสาร, **แก้ไขและลบเอกสาร** ภายใน namespace ได้ ค่า permission //Create//, //Upload//, และ //Delete// สามารถกำหนดให้ namespace ได้เท่านั้น ส่วน page สามารถกำหนดได้แค่ //None//, //Read// และ //Edit// === การเพิ่ม permission ใน ACL management === - ทำการ login แบบ admin เข้าสู่ระบบ - กดปุ่ม Admin ที่ด้านล่างของหน้าจอ - คลิกที่ Access Control List Management - ทำการเลือก หน้าเนื้อหา หรือ namespace ที่หน้าต่างด้านซ้ายมือ - ทำการเลือก user หรือ group ที่หน้าต่างด้านขวามือ - ในหน้าต่างด้านขวามือ ทำการเลือก permission ที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม Save === การแก้ไข permission ที่มีอยู่แล้ว === - ทำการ login แบบ admin เข้าสู่ระบบ - กดปุ่ม Admin ที่ด้านล่างของหน้าจอ - คลิกที่ Access Control List Management - หา page/namespace และ user/group ที่ต้องการแก้ไขในตารางด้านล่างของหน้าจอ - เปลี่ยน permission เป็นค่าที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม Update === การลบ permission ที่มีอยู่แล้ว === - ทำการ login แบบ admin เข้าสู่ระบบ - กดปุ่ม Admin ที่ด้านล่างของหน้าจอ - คลิกที่ Access Control List Management - หา page/namespace และ user/group ที่ต้องการแก้ไขในตารางด้านล่างของหน้าจอ - เลือก checkbox ด้านขวามือสุด ของ permission ที่ต้องการจะลบ แล้วกดปุ่ม Update ==== โครงสร้าง namespace ของ user ==== namespace ของ user จะอยู่ใน namespace staff เช่น :staff:anurat: ([[:staff:anurat]]) โดยจะมีทั้งหน้าเนื้อหา และ namespace ในชื่อเดียวกัน เช่นหน้าเนื้อหา :staff:anurat จะมี namespace :staff:anurat: ด้วย ใน namespace ของ user จะมี namespace อีก 2 อันคือ private และ public เช่น :staff:anurat:private [[:staff:anurat:private]] และ :staff:anurat:public [[:staff:anurat:public]] หน้าเนื้อหา private และ namespace private มีไว้ให้ user นั้นใช้งานเท่านั้น คนอื่นๆ ไม่สามารถเข้ามาอ่านได้ เช่นเขียน memo, diary และอื่นๆ หน้าเนื้อหา public และ namespace public มีไว้ให้ ใครก็ได้เข้ามาใช้ร่วมกับ user เช่นร่วมกันเขียน papers, articles หรือจัดตั้ง project ต่างๆ ==== การสร้าง namespace ของ user ใหม่ ==== - สร้างหน้าเว็บ ดังต่อไปนี้ - หน้าเว็บ staff: กำหนดให้เป็น homepage ของ - namespace staff:: กำหนดให้เป็น namespace ของ - หน้าเว็บ staff::public กำหนดให้เป็น หน้าเว็บที่ให้ใครก็ได้เข้ามาแก้ไข - namespace staff::public: กำหนดให้เป็น public namespace ของ - หน้าเว็บ staff::private กำหนดให้เป็น หน้าเว็บที่ เท่านั้นที่อ่าน และแก้ไขหน้าเว็บได้ - namespace staff::private: กำหนดให้เป็น private namespace ของ - การกำหนด permission - กำหนด หน้าเว็บ staff::public ให้ group @ALL มี permission เป็น Edit - กำหนด namespace staff::public: ให้ group @ALL มี permission เป็น Upload - กำหนด หน้าเว็บ staff::private ให้ group @ALL มี permission เป็น None - กำหนด หน้าเว็บ staff::private ให้ มี permission เป็น Edit - กำหนด namespace staff::private: ให้ group @ALL มี permission เป็น None - กำหนด namespace staff::private: ให้ มี permission เป็น Delete ===== การจัดการ User ===== ==== การใช้งาน user history plugin ==== ===== การจัดการ Plugins ===== ===== การเปลี่ยนค่า config ===== ===== การส่งข้อมูลกลับ Dokuwiki =====